ที่ | เรื่อง | ประเภทของงาน | ||||
---|---|---|---|---|---|---|
งานบริหารทั่วไป | งานบริหารงานบุคคล | งานบริหารงบประมาณ | งานบริหารงานวิชาการ | งานนโยบาย | ||
1 | วันจันทร์ ที่ 9 มกราคม 2565 โรงเรียนบ้านเสลี่ยงทอง นำโดยนางสาวอรทัย คล้ายสอน รองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนาประชาสัมพันธ์ รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเสลี่ยงทอง จัดประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อปรึกษาและเตรียมความพร้อมในการจัดงานวันเด็กแห่งชาติ และกิจกรรมค่ายอาสา |
/ | ||||
2 | โรงเรียนบ้านเสลี่ยงทอง นำโดยนางสาวอรทัย คล้ายสอน รองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนาประชาสัมพันธ์ รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเสลี่ยงทอง พร้อมด้วยคณะครู นักเรียน จัดกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ในวันเสาร์ ที่ 14 มกราคม 2566 |
/ | ||||
3 | วันพฤหัสบดี ที่ 26 มกราคม 2566 โรงเรียนบ้านเสลี่ยงทอง นำโดยนางสาวอรทัย คล้ายสอน รองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนาประชาสัมพันธ์ รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเสลี่ยงทอง ได้มอบเงินอุดหนุนนักเรียนยากจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข ตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 2 – ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กสศ.จัดสรรงบประมาณให้เป็นไปตามอุปสงค์ (Demand-side Financing) ตรงตามความต้องการของนักเรียนเป็นรายบุคคล ในบริบทพื้นที่ซึ่งแตกต่างกันเพื่อแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาและบรรเทาอุปสรรคการมาเรียน นอกเหนือจากค่าธรรมเนียมการศึกษา เป็นการช่วยลดความเหลื่อมลํ้าที่ต้นทาง ปกป้องเด็กไทย ไม่ให้หลุดจากระบบการศึกษา |
/ |
วันจันทร์ ที่ 9 มกราคม 2565 โรงเรียนบ้านเสลี่ยงทอง นำโดยนางสาวอรทัย คล้ายสอน รองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนาประชาสัมพันธ์ รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเสลี่ยงทอง จัดประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อปรึกษาและเตรียมความพร้อมในการจัดงานวันเด็กแห่งชาติ และกิจกรรมค่ายอาสา
โรงเรียนบ้านเสลี่ยงทอง นำโดยนางสาวอรทัย คล้ายสอน รองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนาประชาสัมพันธ์ รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเสลี่ยงทอง พร้อมด้วยคณะครู นักเรียน จัดกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ในวันเสาร์ ที่ 14 มกราคม 2566
วันพฤหัสบดี ที่ 26 มกราคม 2566 โรงเรียนบ้านเสลี่ยงทอง นำโดยนางสาวอรทัย คล้ายสอน รองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนาประชาสัมพันธ์ รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเสลี่ยงทอง ได้มอบเงินอุดหนุนนักเรียนยากจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข ตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 2 – ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กสศ.จัดสรรงบประมาณให้เป็นไปตามอุปสงค์ (Demand-side Financing) ตรงตามความต้องการของนักเรียนเป็นรายบุคคล ในบริบทพื้นที่ซึ่งแตกต่างกันเพื่อแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาและบรรเทาอุปสรรคการมาเรียน นอกเหนือจากค่าธรรมเนียมการศึกษา เป็นการช่วยลดความเหลื่อมลํ้าที่ต้นทาง ปกป้องเด็กไทย ไม่ให้หลุดจากระบบการศึกษา